วันอาทิตย์ที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2560
วันจันทร์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
โลโก้
สีชมพู
ความหมาย
ความนุ่มนวล ความอ่อนโยน ความไร้เดียงสา ความอ่อนเยาว์ การดูแลเอาใจใส่
.สีน้ำเงิน – สีฟ้า
ความหมาย
ความสงบ ความเงียบ ความมั่นคง ความศรัทธา
สีเทา
ความหมาย
ความอ่อนน้อมถ่อมตน ศักดิ์ศรี ความเสถียร ความมั่นคง
นางสาวนาฎอนงค์ บุตรพุ่ม ม.6/4 เลขที่18
วันจันทร์ที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2560
วิธีตกแต่งภาพของ mr.bean
after
ขั้นตอนแรก
เปิด open เลือกรูป mr.bean ที่บันทึกไว้ แล้วกดQuick selection tools
แล้วลากตามรูปเสื้อที่จะเปลี่ยนสี แล้วเลือก Image เลือก Adjustments เลือก hue/saturation.... แล้วเลือกสีที่จะเปลี่ยน กดOK
กดQuick selection tools
แล้วลากตามรูปปากที่จะเปลี่ยนสี แล้วเลือก Image เลือก Adjustments เลือก hue/saturation.... แล้วเลือกสีที่จะเปลี่ยน กดOK
ขั้นตอนการรีทัช เลือกเครื่องมือ Healing brush tool กด Alt บนแป้นพิมพ์แล้วคลิกลบริ้วรอยตามต้องการ
จากนั้น กด save
นางสาวนาฎอนงค์ บุตรพุ่ม ม.6/4 เลขที่18
นางสาวนาฎอนงค์ บุตรพุ่ม ม.6/4 เลขที่18
วันจันทร์ที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2560
รีทัช
before
after
1.กด Quick selection tools แล้วลากเส้นตามรูปปาก ที่จะเปลี่ยนสี เลือก image เลือก Adjustments เลือก hue/saturation... แล้วเลือกสีที่จะเปลี่ยน กด ok
2.กด Quick selection tools แล้วลากเส้นตามรูปเสื้อ ที่จะเปลี่ยนสี เลือก image เลือก Adjustments เลือก hue/saturation... แล้วเลือกสีที่จะเปลี่ยน กด ok
3.รีทัช เลือกเครื่องมือ Healing brush tools กด Alt บนแป้นพิมพ์ แล้วคลิกลบริ้วรอยที่ต้องการ
นางสาวนาฎอนงค์ บุตรพุ่ม ม.6/4 เลขที่18
วันอาทิตย์ที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2560
การทำภาพแบบขอบฟุ้ง
ทำภาพฟุ้งโดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS6
1. เริ่มแรกใช้ Elliptical Marquee Tool ใช้วาดเส้นประวงรีตรงรูปที่เราต้องการทำภาพฟุ้ง
2. เสร็จแล้วกด Shift+F6 เพื่อเลือกความฟุ้งของภาพ ในภาพใช้ 70 pixels
3. เลือก select > inverse เพื่อให้ภาพขึ้นเส้นประรอบรูปที่ต้องการและเส้นประรอบกรอบจากนั้นกด delete เพื่อลบกรอบ
4. file > save as บันทึกภาพ
นางสาวนาฎอนงค์ บุตรพุ่ม ม.6/4 เลขที่18
วันจันทร์ที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2560
ขั้นตอนการตัดภาพ
ขั้นตอนการตัดภาพ 1. เปิดไฟล์รูปที่ต้องการตัด 2 ใช้เครื่องมือที่เลือก Select พื้นที่ที่ต้องการ เท่าที่ทำได้ เมื่อ Selection ได้พื้นที่ที่ต้องการแล้ว ให้เลือกไปที่ Quick Mask Mode จะได้ออกมา 3 เลือกเครื่องมือ Brush Tool ลบส่วนที่เกินออก 4 กลับไปที่โหมดปกติ Standard Mode จะได้ Selection ที่ต้องการ จากนั้นก็จัดการลบ Background ทิ้งได้เลย 5 นำสีที่เราชอบมาเทเป็นพื้นหลัง
นางสาวนาฎอนงค์ บุตรพุ่ม ม.6/4 เลขที่18
วันจันทร์ที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
ส่วนประกอบของ ADOBE PHOTOSHOP CS6
ส่วนประกอบของ Adobe
Photoshop CS6
1.แถบเมนูคำสั่ง (Menu Bar)
แถบเมนูคำสั่งประกอบไปด้วยทั้งหมด 10 เมนูคำสั่ง โดยแสดงชื่อเมนูคำสั่งและรูปแบบการทำงาน
รูปแบบการทำงานของแถบเมนูคำสั่ง
File สำหรับจัดการกับไฟล์ภาพในลักษณะต่าง ๆ เช่น
สร้างไฟล์งานใหม่ เปิดไฟล์ภาพ บันทึกไฟล์งาน นำเข้าหรือส่งออกไฟล์เพื่อทำงานในลักษณะอื่น
ๆ
Edit สำหรับแก้ไขภาพ เช่น ตัด คัดลอก วาง
รวมถึงปรับแต่งค่าเบื้องต้นของโปรแกรม
Image สำหรับจัดการภาพ เช่น
แก้ไขความสว่างหรือสีของภาพให้สมดุลยิ่งขึ้น รวมถึงใช้สำหรับย่อขยายขนาดภาพ
และกำหนดขนาดพื้นที่การทำงานของภาพ
Layer สำหรับจัดการเกี่ยวกับเลเยอร์ เช่น
การสร้างเลเยอร์ใหม่ การรวมเลเยอร์ การแปลง เลเยอร์
การจัดการกับเลเยอร์ของไฟล์ลักษณะต่าง ๆ
รวมถึงการจัดการรายละเอียดของภาพในเลเยอร์นั้น ๆ
Type สำหรับจัดการและปรับแต่งเกี่ยวกับข้อความ เช่น ปรับแต่งสีข้อความ
ปรับแต่งขอบข้อความ หรือการเปลี่ยนข้อความให้เป็นภาพ
Select สำหรับปรับแต่งการเลือกพื้นที่
บันทึกและเรียกพื้นที่ที่เลือกมาใช้งาน
รวมถึงคำสั่งสำหรับการเลือกพื้นที่เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดียิ่งขึ้น
Filter สำหรับปรับแต่งภาพให้มีรูปแบบที่น่าสนใจยิ่งขึ้น
บิด ดัดปรับรูปทรงรูปแบบต่าง ๆ ให้กับภาพ
View สำหรับเลือกรูปแบบการแสดงผล เช่น ย่อขยายภาพ แสดงไม้บรรทัด
เส้นกริด หรือเส้นไกด์
Window สำหรับเลือกเปิดปิดพาเนล
รวมถึงกำหนดรูปแบบการแสดงหน้าต่างในแบบต่าง ๆ
Help
ใช้สำหรับแสดงความช่วยเหลือเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือหรือคำสั่งในรูปแบบต่าง
ๆ
แถบตัวเลือก (Options Bar) เป็นส่วนที่ใช้ในการปรับแต่งค่าการทำงานของเครื่องมือ ต่าง ๆ
การกำหนดค่าในแถบตัวเลือกจะเปลี่ยนไปตามเครื่องมือที่ใช้งานอยู่
2. แถบตัวเลือก
(Options Bar)
กล่องเครื่องมือ (Toolbox)
เป็นส่วนที่ใช้เก็บเครื่องมือพื้นฐานในการทำงาน ในโปรแกรม
สามารถเรียกใช้ชุดเครื่องมือย่อยโดยการคลิกรูปสามเหลี่ยมที่มุมด้านล่าง
3.กล่องเครื่องมือ (Toolbox)
เครื่องมือพื้นฐานบนกล่องเครื่องมือของโปรแกรม Adobe Photoshop CS6 ได้แบ่ง
การทำงานออกเป็นหมวดหมู่หรือเป็นกลุ่มย่อย ๆ ดังแสดงในตาราง
ตาราง เครื่องมือพื้นฐานของโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
ตาราง เครื่องมือพื้นฐานของโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
ชื่อเครื่องมือ
|
ความหมาย
|
Move Tool
|
ใช้เคลื่อนย้ายภาพบริเวณที่เลือกพื้นที่หรือไม่ได้เลือกพื้นที่ไปยังตำแหน่งใหม่
|
1. Rectangular Marquee Tool
2. Elliptical Marquee Tool
3. Single Row Marquee Tool
4. Single Column Marquee Tool
|
1. เลือกพื้นที่แบบรูปทรงสี่เหลี่ยม
2. เลือกพื้นที่แบบรูปทรงวงกลม
วงรี
3. เลือกพื้นที่แบบเส้นตรงแนวนอน
4. เลือกพื้นที่แบบเส้นตรงแนวตั้ง
|
1. Lasso Tool
2. Polygonal Lasso Tool
3. Magnetic Lasso Tool
|
1. เลือกพื้นที่แบบอิสระ
2. เลือกพื้นที่แบบมุมเหลี่ยม
3. เลือกพื้นที่แบบชิดเส้นขอบภาพ
|
1. Quick Selection Tool
2. Magic Wand Tool
|
1. เลือกพื้นที่ตามพื้นที่ที่ลากเมาส์ผ่าน
2. เลือกพื้นที่โดยยึดตามสีที่มีค่าใกล้เคียงกัน
|
1. Crop Tool
2. Perspective Crop Tool
3. Slice Tool
4. Slice Select Tool
|
1. ใช้ตัดภาพโดยเลือกเฉพาะบริเวณที่ต้องการใช้งาน
2. ใช้ตัดภาพที่มีมุมบิดเบี้ยวให้กลายเป็นมุมที่ถูกต้อง
3. ใช้ตัดภาพออกเป็นชิ้นเล็ก ๆ เพื่อนำไป
ใช้ออกแบบบนเว็บเพจ
4. ใช้ปรับแต่งขนาดของภาพที่ตัดออกเป็นชิ้นเล็ก ๆ
จากเครื่องมือ Slice Tool
|
1. Eyedropper Tool
2. Color Sampler Tool
3. Ruler Tool
4. Note Tool
|
1. ใช้เลือกสีจากภาพไปใช้งาน
2. ใช้ดูดสีไว้สำหรับเปรียบเทียบค่า
3. ใช้วัดระยะห่างและกำหนดตำแหน่ง
4. ใช้เพิ่มคำอธิบายให้กับภาพ
|
1. Spot Healing Brush Tool
2. Healing Brush Tool
3. Patch Tool
4. Content-Aware Move Tool
|
1. ใช้แก้ไขจุดบกพร่องขนาดเล็กบนภาพ
2. ใช้แก้ไขจุดบกพร่องขนาดใหญ่บนภาพ
3. ใช้แก้ไขพื้นผิวของภาพขนาดใหญ่
โดยการนำพื้นผิวอื่นมาแปะทับ
4. ใช้ย้ายวัตถุในภาพไปยังตำแหน่งใหม่
โดยเครื่องมือจะเติมสีพื้นหลังให้ด้วย
5. ใช้แก้ไขภาพถ่ายตาแดง
|
1. Clone Stamp Tool
2. Pattern Stamp Tool
|
1. ใช้คัดลอกวัตถุจากจุดหนึ่งไปแปะทับอีกจุดหนึ่ง
2. ใช้ตกแต่งภาพพื้นผิวที่คลิกแทนที่ลงไปบนภาพ
|
1. Eraser Tool
2. Background Eraser Tool
3. Magic Eraser Tool
|
1. ใช้ลบพื้นที่ที่ไม่ต้องการและแทนที่ด้วยสีพื้นหลัง
2. ใช้ลบภาพพื้นหลังออกด้วยการคลิกเลือกสีที่จะลบและจะได้พื้นหลังแบบโปร่งใส
3. ใช้ลบสีพื้นหลังภาพอย่างรวดเร็วและ จะได้พื้นหลังแบบโปร่งใส
|
1. Blur Tool
2. Sharpen Tool
3. Smudge Tool
|
1. ใช้ระบายภาพให้เบลอในจุดที่ลากเมาส์
2. ใช้ปรับเพิ่มความคมชัดให้ภาพ
3. ใช้เกลี่ยสีให้กลมกลืนในจุดที่ลากเมาส์
|
1. Dodge Tool
2. Burn Tool
3. Sponge Tool
|
1. ใช้เพิ่มความสว่างให้จุดที่ลากเมาส์ผ่าน
2. ใช้เพิ่มความมืดให้จุดที่ลากเมาส์ผ่าน
3. ใช้ลดและเพิ่มความอิ่มตัวของสี โดยการลากเมาส์ผ่าน
|
1. Brush Tool
2. Pencil Tool
3. Color Replacement Tool
4. Mixer Brush To
|
1. ใช้สร้างเส้นหรือลวดลายให้กับเส้น
2. ใช้สร้างเส้นหรือลวดลาย
แต่จะได้เส้นที่หยาบกว่า
3. ใช้เปลี่ยนสีภาพเป็นสีใหม่
4. ใช้เกลี่ยสีของภาพให้กลายเป็นภาพวาด
|
1. History Brush Tool
2. Art History Brush Tool
|
1. ใช้ย้อนกลับการทำงานคำสั่งที่ผิดพลาดเมื่อลากเมาส์ไปบนภาพ
2. ใช้เปลี่ยนเป็นภาพวาดแบบง่าย ๆ
เมื่อลากเมาส์ไปบนภาพ
|
1. Gradient Tool
2. Paint Bucket Tool
|
1. ใช้ลากเมาส์ไปบนภาพเพื่อไล่เฉดสี
2. ใช้เพื่อเติมสีหรือลวดลายลงไปบนภาพ
|
1. Pen Tool
2. Freeform Pen Tool
3. Add Anchor Point Tool
4. Delete Anchor Point Tool
5. Convert Point Tool
|
1. ใช้สร้างเส้นพาธรอบภาพโดยการลากเมาส์กำหนดทิศทาง
2. ใช้สร้างเส้นพาธแบบอิสระเพื่อปรับแต่งในภายหลัง
3. ใช้เพิ่มจุดแองเคอร์เพื่อปรับแต่งรูปทรงเส้นพาธ
4. ใช้ลบจุดแองเคอร์ที่มากเกินไป
5. ใช้ปรับแต่งมุมของเส้นพาธ
|
1. Horizontal Type Tool
2. Vertical Type Tool
3. Horizontal Type Mask Tool
4. Vertical Type Mask Tool
|
1. ใช้สร้างข้อความแบบเวคเตอร์ในแนว
นอน
2. ใช้สร้างข้อความแบบเวคเตอร์ในแนวตั้ง
3. ใช้สร้างข้อความแบบราสเตอร์ในแนว
นอน
4. ใช้สร้างข้อความแบบราสเตอร์ในแนวตั้ง
|
1. Path Selection Tool
2. Direct Selection Tool
|
1. ใช้ย้ายตำแหน่งหรือปรับขนาดเส้นพาธ
2. ใช้คลิกไปบนจุดแองเคอร์เพื่อปรับแต่งรูปทรงเส้นพาธ
|
1. Rectangle Tool
2. Rounded Rectangle Tool
3. Ellipse Tool
4. Polygon Tool 5. Line Tool
6. Custom Shape Tool
|
1. ใช้สร้างรูปทรงสี่เหลี่ยม
2. ใช้สร้างรูปทรงสี่เหลี่ยมมุมโค้งมน
3. ใช้สร้างรูปทรงวงกลม
วงรี
4. ใช้สร้างรูปทรงหลายเหลี่ยม
รูปดาว
5. ใช้สร้างรูปทรงเส้นตรง
6. ใช้สร้างรูปทรงสำเร็จรูป
|
1. Hand Tool
2. Rotate View Tool
|
1. ใช้เลื่อนดูส่วนต่าง ๆ ของภาพ
2. ใช้หมุนภาพไปในทิศทางต่าง ๆ
|
Zoom Tool
|
ใช้ขยายดูส่วนที่ต้องการของภาพ
|
Foreground/Background
|
ใช้กำหนดสีพื้นหน้าและสีพื้นหลัง
|
Edit in Standard Mode/
Edit in Quick Mask Mode
|
ใช้แสดงหรือแก้ไขภาพในโหมดปกติและแสดงการทำงานคล้ายการสร้างหน้ากาก
เพื่อปิดบังพื้นที่ส่วนที่ไม่ต้องการเลือกเอาไว้
โดยสามารถคลิกเมาส์สลับโหมดไปมาได้
|
1. Standard Screen Mode
2. Full Screen Mode with Menu Bar
3. Full Screen Mode
|
1. ใช้แสดงหน้าจอแบบมาตรฐานปกติ
2. ใช้แสดงแบบเต็มหน้าจอโดยไม่มีแถบ ชื่อเรื่องของโปรแกรม
3. ใช้แสดงแบบเต็มหน้าจอโดยไม่มีแถบ ชื่อเรื่องและแถบเมนูคำสั่ง
|
4.พื้นที่ใช้งาน (Working
Area)
เป็นส่วนที่ใช้ในการสร้างงานกราฟิก โดยการเปิดไฟล์ภาพเพื่อแก้ไขบนพื้นที่ใช้งาน หรือวาดภาพใหม่ลงไปบนพื้นที่ใช้งาน
ที่มา:https://sites.google.com/site/computeronlineinth/neuxha-bth-reiyn/-photoshop-cs5/---photoshop-cs3
นางสาว นาฎอนงค์ บุตรพุ่ม ม.6/4 เลขที่18
เป็นส่วนที่ใช้ในการสร้างงานกราฟิก โดยการเปิดไฟล์ภาพเพื่อแก้ไขบนพื้นที่ใช้งาน หรือวาดภาพใหม่ลงไปบนพื้นที่ใช้งาน
ที่มา:https://sites.google.com/site/computeronlineinth/neuxha-bth-reiyn/-photoshop-cs5/---photoshop-cs3
นางสาว นาฎอนงค์ บุตรพุ่ม ม.6/4 เลขที่18
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)